[ใหม่] การใช้เซลล์ต้นกำเนิดรักษาในผู้ป่วยโรคข้อเสื่อม
545 สัปดาห์ ที่แล้ว
- กรุงเทพมหานคร - คนดู 25
รายละเอียด
การใช้เซลล์ต้นกำเนิดรักษาในผู้ป่วยโรคข้อเสื่อม
ปัจจุบันการรักษาผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคข้อเสื่อมโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดนั้น ได้มีการทำเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น มีกรณีศึกษาในผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม โดยผู้ป่วยมีอาการปวด บวมบริเวณข้อเข่า เมื่อทำการตรวจด้วยเครื่อง MRI พบว่าเนื้อกระดูกอ่อนและเนื้อเยื่อ ระหว่างข้อต่อของข้อเข่าผู้ป่วยสึกหรอเสียหายไปแพทย์จึงวางแผนการรักษา โดยการใช้เซลล์ต้นกำเนิดของผู้ป่วยเอง ปลูกถ่ายเข้าไปให้กับผู้ป่วยใหม่ โดยแพทย์ได้ทำการเก็บเลือดจากไขกระดูกของผู้ป่ วยเองมาทำการปั่นแยกเพื่อเอา Plasma และ Packed Red Blood Cells ทิ้งไป จากนั้นนำส่วนที่เรียกว่า Total Nucleated Cells หรือชั้นของเม็ดเลือดขาวทั้งหมดซึ่งมีเซลล์ต้นกำเนิดปะปนอยู่ มาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลล์ที่เรียกว่า DMEM ใน 10% PL (Lower viscocity Platelet Lysate containing growth factors) หลังจากที่เลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดในห้องปฏิบัติการได้ถึง Passage ที่ 5 แล้ว
แพทย์จึงนำเซลล์ต้นกำเนิดทั้งหมดที่เลี้ยงได้มาทำการฉีดกลับให้กับผู้ป่วย โดยฉีดเข้าไปบริเวณรอยโรคโดยตรง หลังจากหกเดือนที่ผู้ป่วยได้รับการปลูกถ่ายด้วย mesenchymal stem cell เมื่อแพทย์ทำการตรวจข้อเข่าของผู้ป่วยด้วยเครื่อง MRI พบว่า ข้อเข่าของผู้ป่วยมีปริมาณเนื้อเยื่อ บริเวณหมอนรองกระดูกและมีเนื้อกระดูกอ่อนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งหลังจากหกเดือนผ่านไป พบว่าผู้ป่ วยสามารถเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อบริเวณข้อเข่าได้ดีขึ้น อาการปวดลดลงมาก ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ
ปรึกษาโทร 097-092-8338
หรือเข้าชมรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
www.global-imc.com/article/28
ปัจจุบันการรักษาผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคข้อเสื่อมโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดนั้น ได้มีการทำเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น มีกรณีศึกษาในผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม โดยผู้ป่วยมีอาการปวด บวมบริเวณข้อเข่า เมื่อทำการตรวจด้วยเครื่อง MRI พบว่าเนื้อกระดูกอ่อนและเนื้อเยื่อ ระหว่างข้อต่อของข้อเข่าผู้ป่วยสึกหรอเสียหายไปแพทย์จึงวางแผนการรักษา โดยการใช้เซลล์ต้นกำเนิดของผู้ป่วยเอง ปลูกถ่ายเข้าไปให้กับผู้ป่วยใหม่ โดยแพทย์ได้ทำการเก็บเลือดจากไขกระดูกของผู้ป่ วยเองมาทำการปั่นแยกเพื่อเอา Plasma และ Packed Red Blood Cells ทิ้งไป จากนั้นนำส่วนที่เรียกว่า Total Nucleated Cells หรือชั้นของเม็ดเลือดขาวทั้งหมดซึ่งมีเซลล์ต้นกำเนิดปะปนอยู่ มาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลล์ที่เรียกว่า DMEM ใน 10% PL (Lower viscocity Platelet Lysate containing growth factors) หลังจากที่เลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดในห้องปฏิบัติการได้ถึง Passage ที่ 5 แล้ว
แพทย์จึงนำเซลล์ต้นกำเนิดทั้งหมดที่เลี้ยงได้มาทำการฉีดกลับให้กับผู้ป่วย โดยฉีดเข้าไปบริเวณรอยโรคโดยตรง หลังจากหกเดือนที่ผู้ป่วยได้รับการปลูกถ่ายด้วย mesenchymal stem cell เมื่อแพทย์ทำการตรวจข้อเข่าของผู้ป่วยด้วยเครื่อง MRI พบว่า ข้อเข่าของผู้ป่วยมีปริมาณเนื้อเยื่อ บริเวณหมอนรองกระดูกและมีเนื้อกระดูกอ่อนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งหลังจากหกเดือนผ่านไป พบว่าผู้ป่ วยสามารถเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อบริเวณข้อเข่าได้ดีขึ้น อาการปวดลดลงมาก ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ
ปรึกษาโทร 097-092-8338
หรือเข้าชมรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
www.global-imc.com/article/28