[ใหม่] ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกลีเซอรีน Thailand Glycerine
181 สัปดาห์ ที่แล้ว
- สมุทรสาคร - เมืองสมุทรสาคร - คนดู 21
1 ฿
รายละเอียด
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกลีเซอรีน Thailand Glycerine
รวบรวมโดย ฝ่ายขายและบริการเทคนิค บจก.ไทยโพลีเคมิคอล l ไทยแลนด์กลีเซอรีน
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 034854888, 034496284, 0800160016, 0824504888
กลีเซอรีน (Glycerine, Glycerin) หรือ กลีเซอรอล (Glycerol) เป็นสารประกอบอินทรีย์ในกลุ่มของโพลิไฮดริกแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง ถือเป็นสารชนิดเดียวกันสำหรับเป็นสารตั้งต้นสำคัญในอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิ การผลิตสบู่ การผลิตยา การผลิตเครื่องสำอาง เป็นต้น
กลีเซอรีน หรือกลีเซอรอล ถูกค้นพบครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1779 โดยนักเคมีชาวสวีเดน ชื่อ Carl W. Scheele จากการทดลองปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันในการสกัดน้ำมันมะกอก กลีเซอรีนหรือกลีเซอรอล มาจากคำว่า glykys แปลว่า “หวาน” โดยในระยะแรกมีการใช้ประโยชน์สำหรับเป็นส่วนผสมของกาว ทำให้กาวมีความเหนียวมากขึ้น รวมถึงส่วนผสมของสีย้อม และน้ำหมึก ต่อมาถูกประยุกต์ใช้สำหรับทำระเบิดไดนาไมด์ ในรูปของไตรกลีเซอรีน ผสมกับซิลิกา
ข้อแตกต่างของกลีเซอรีนกับกลีเซอรอล
กลีเซอรีน และกลีเซอรอล ถือเป็นสารเดียวกัน แต่ผู้ใช้ทั่วไปมักเรียก กลีเซอรีน (Glycerin) และกลีเซอรีนจะมีความบริสุทธิ์น้อยกว่า มักมีการปนเปื้อนสิ่งต่างๆ เช่น น้ำ สี เป็นต้น และกลีเซอรีนจะใช้เรียกสำหรับอ้างถึงสารละลายในทางการค้าของกลีเซอรอลที่มี น้ำเจือปน โดยมีกลีเซอรอลเป็นองค์ประกอบโดยส่วนใหญ่
กลีเซอรอลดิบจะมีความบริสุทธิ ์ประมาณ 70-80 เปอร์เซ็นต์ และความบริสุทธิ์มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ มักเป็นผลิตภัณฑ์ค้าขายในเชิงพาณิชย์ สำหรับชื่ออื่นนอกเหนือจาก Glycerol และ Glycerin ได้แก่ propane-1,2,3 -triol, 1,2,3 – propanetriol, 1,2,3 trihydroxypropane, glyceritol และglycyl alcohol
กลีเซอรีน/กลีเซอรอล ที่มีจำหน่ายในปัจจุบันมักมีสถานะเป็นของแข็งหรือของเหลว ซึ่งมีองค์ประกอบ และกระบวนการผลิตที่แตกต่างกัน โดยสถานะของเหลวเป็นสถานะปกติของกลีเซอรีน/กลีเซอรอล ส่วนกลีเซอรีนก้อนที่เป็นผลิตภัณฑ์จำหน่ายตามท้องตลาดสำหรับทำสบู่ก้อนใสทั่วไปจะมีส่วนผสมของเอทิลแอลกอฮอล์ และกลีเซอรีนเหลว ได้เป็นกลีเซอรีนก้อนที่เรียกกันทั่วไป
สำหรับกลีเซอรีนก้อนที่จำหน่ายในร้านค้าหรืออินเตอร์เน็ตมักใช้สำหรับการผลิตสบู่ในครัวเรือนทั่วไป รวมถึงการใช้ในภาคอุตสาหกรรม ส่วนกลีเซอรีนเหลวมักใช้ในภาคอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่
- สบู่ก้อนแข็ง เนื้อขาวนวลจะใช้สารตั้งต้นจากสบู่ ที่ได้จากกระบวนการสะปอนนิฟิเคชันดังสมการด้านล่าง
- สบู่ก้อนแข็ง เนื้อมีลักษณะใสจะใช้สารตั้งต้นเป็นกลีเซอรีนก้อนที่เป็นส่วนผสมของเอทิลแอลกอฮอล์กับกลีเซอรีนเหลว
- สบู่เหลว เป็นลักษณะสบู่ที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบมาก โดยใช้สารตั้งต้นจากสบู่ ที่ได้จากกระบวนการสะปอนนิฟิเคชัน โดยมีโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นสารทำปฏิกิริยาแทนโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ได้เนื้อสบู่แบบทั่วไป
คุณลักษณะเฉพาะของกลีเซอรอล/กลีเซอรีน
- มีสถานะปกติเป็นของเหลวข้น ไม่มีสี มีรสหวาน
- สูตรทางเคมี C3H8O3
- มวลอะตอม 92.09382 กรัม/โมล
- ความหนาแน่น 1.261 กรัม/ลบ.ซม.
- จุดหลอมเหลว 18 องศาเซลเซียส
- จุดเดือด 290 องศาเซลเซียส
- ความหนืด 1.2 pa-s
- แรงตึงผิว (20 องศาเซลเซียส) 63.4 มิลลินิวตัน/เมตร
- จุดวาบไฟ (ระบบเปิด) 177 องศาเซลเซียส
- จุดติดไฟ 204 องศาเซลเซียส
- ละลายได้ในน้ำ และแอลกอฮอล์ ไม่ละลายในเบนซีน อีเทอร์ และน้ำมัน
การผลิต
1. กลีเซอรีน/กลีเซอรอล สามารถผลิตได้จากกระบวนการไฮโดรไลซีสของน้ำมันจากพืช และไขมันจากสัตว์ โดยมีกรดหรือเบสเจือจางเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เกิดเป็นกลีเซอรอลกับกรดไขมัน
ไขมันพืช/สัตว์ + น้ำ = กลีเซอรีน/กลีเซอรอล + กรดไขมัน
2. กลีเซอรีน/กลีเซอรอล ยังสามารถผลิตได้จากกระบวนการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล ที่ถือเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการสะปอนนิฟิเคชัน ได้สบู่ แอลกอฮอล์ และน้ำผสมรวมอยู่ ซึ่งการผลิตไบโอดีเซลทุกๆ 9 กิโลกรัม จะเกิดกลีเซอรอลประมาณ 1 กิโลกรัม เสมอ
ไขมันพืช/สัตว์ + ด่าง = สบู่ + กลีเซอรีน/กลีเซอรอล + แอลกอฮอล์ + น้ำ
3. การผลิตที่ได้จากกระบวนการการทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน ได้เมทิลเอสเทอร์กับกลีเซอรีน
ไขมันพืช/สัตว์ + เมทิลอแลกอฮอล์ = กลีเซอรีน/กลีเซอรอล + เมทิลเอสเทอร์
ประโยชน์กลีเซอรีน/กลีเซอรอล/
1. ใช้เป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมต่างๆ เนื่องจากสามารถละลายได้ดีในน้ำ และแอลกอออล์
2. สำหรับอุตสาหกรรมเคมีใช้สำหรับเป็นสารตั้งต้นในการผลิตสารประกอบโพลิออล (polyol) สำหรับผลิตโฟม
3. กลีเซอรีน/กลีเซอรอล ที่มีความเข้มข้นมากกว่าร้อยละ 55 จะมีรสหวานสามารถใช้เป็นสารทดแทนน้ำตาลได้
4. กลีเซอรีน/กลีเซอรอล ที่เป็นสารจำพวก Hydroscopic มีคุณสมบัติดูดซับความชื้นในบรรยากาศได้ดี จึงนิยมนำมาใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความนุ่ม ความยืดหยุ่น และเป็นครีม เช่น อุตสาหกรรมพลาสติกเพื่อให้มีความอ่อนตัว และยืดหยุ่นได้ดี
5. ใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์เพื่อทำหน้าที่เป็น Thickening agent หรือ Bodying agent เพราะสามารถให้ความหนืดได้ดี
6. ใช้เป็นส่วนผสมสำหรับผลิตภัณฑ์เพื่อรักษาความชุ่มชื้น เช่น น้ำยาบ้วนปาก ยาสีฟัน สบู่ เป็นต้น
7. ใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ยา อาหาร และเครื่องดื่ม เช่น เป็นสารทดแทนน้ำตาล เป็นต้น
8. โมโนกลีเซอไรด์ใช้เป็นสารอิมัลชั่น และสารเพิ่มความคงตัว
9. ใช้ฉีดพ่นหรือเคลือบผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเพื่อรักษาความสด ป้องกันการระเหยของน้ำ เช่น ใช้พ่นใบยาสูบ
10. ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสำหรับเป็นสารอิมัลชันในผลิตภัณฑ์ครีม และเป็นสารที่ทำหน้ารักษาความชุ่มชื้นทั้งในส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ และแก่ผิว
ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยากลีเซอรีน/กลีเซอรอล
กลีซอลรีน/กลีเซอรอล สามารถเกิดปฏิกิริยากับสารอื่นได้ง่ายเหมือนกับแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะคาร์บอนอะตอมด้านนอกจะมีความว่องไวมากกว่าคาร์บอนอะตอมในด้าน ปฏิกิริยาที่เกิดออกซิไดซ์คาร์บอนอะตอมด้านนอกจะเกิดเป็นอัลดีไฮด์ ส่วนคาร์บอนอะตอมด้านในจะเกิดเป็นหมู่คาร์บอนิล ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยา ได้แก่
1. กรดอินทรีย์ และกรดอนินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน 1, 2 และ3 หมู่
2. โมโนกลีเซอไรด์ และไดกลีเซอไรด์ของกรดไขมัน
3. อะลิฟาติกเอสเทอร์ และอะโรมาติกเอสเทอร์ที่เกิดจากการทำปฏิกิริยากับสารอัลคิเลติ้ง และเอซิเลติ้ง
4. โพลีกลีเซอรีนที่เกิดจากปฏิกิริยา Intermolecular Elimaination ของน้ำ โดยมีเบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
5. โมโนกลีเซอไรด์ และไดกลีเซอไรด์จากปฏิกิริยาอัลคาไล
6. Clyclic 1,2 หรือ1,3 และ Acetal หรือ Ketal จากการทำปฏิกิริยากับอัลดีไฮด์หรือคีโตน
Keyword, คำสัญคัญ, ชื่อเรียกอื่นๆ
Glycerine, กลีเซอรีน
Glycerine USP, กลีเซอรีนเกรดยูเอสพี
Glycerine Pharmaceutical Grade, กลีเซอรีนเกรดยา
Pure Glycerine, กลีเซอรีนบริสุทธิ์
Reifined Glycerine, รีไฟน์กลีเซอรีน
Glycerine 99.5% Min, กลีเซอรีน 99.5 %
99.5% purified Glycerine, กลีเซอรีนบริสุทธิ์ 99.5%
Glycerine 99.5% USP, กลีเซอรีนเกรดUSP 99.5%
Liquid Glycerine, กลีเซอรีนเหลว
Glycerol, กลีเซอรอล
Glycerol USP, กลีเซอรอลเกรดยูเอสพี
Glycerol Pharma Grade, กลีเซอรอลเกรดยา
Pure Glycerol, กลีเซอรอลบริสุทธิ์
Reifined Glycerol, รีไฟน์กลีเซอรอล
Glycerol 99.5% Min, กลีเซอรอล 99.5%
99.5% purified Glycerol, กลีเซอรอลบริสุทธิ์ 99.5%
1,2,3-Propanetriol, โพรเพนไตรออล
Glyceritol, กลีเซอริตอล
Glycic Alcohol, ไกลซิสแอลกอฮอล์
1,2,3-Trihydroxypropane, ไตรไฮดรอกซีโพรเพน
CAS No. 56-81-5, C3H5(OH)3, Glycerin, propane-1,2,3-triol
ผลิตกลีเซอรีน
ขายกลีเซอรีน
จำหน่ายกลีเซอรีน
ส่งออกกลีเซอรีน
กลีเซอรีนทำสบู่
กลีเซอรอลทำสบู่
Glycerin
Glycerin USP
Glycerine manufacturer
Sale Glycerine
Distribute Glycerine
Export Glycerine
Liquid Glycerine
Vegetable Glycerine
Nutural Glycerine
ไทยแลนด์กลีเซอรีน
Thailand Glycerine
Thai Poly Chemicals Company Limited l Thailand Glycerine
Tel. 034496284, 034854888, 0824504888, 0800160016
บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด l ไทยแลนด์กลีเซอรีน
36/5 ม.9 ต.นาดี อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000
Website: www.thaipolychemicals.com
Email address: thaipolychemicals@hotmail.com
Email address: polychemicals888@gmail.com
รวบรวมโดย ฝ่ายขายและบริการเทคนิค บจก.ไทยโพลีเคมิคอล l ไทยแลนด์กลีเซอรีน
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 034854888, 034496284, 0800160016, 0824504888
กลีเซอรีน (Glycerine, Glycerin) หรือ กลีเซอรอล (Glycerol) เป็นสารประกอบอินทรีย์ในกลุ่มของโพลิไฮดริกแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง ถือเป็นสารชนิดเดียวกันสำหรับเป็นสารตั้งต้นสำคัญในอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิ การผลิตสบู่ การผลิตยา การผลิตเครื่องสำอาง เป็นต้น
กลีเซอรีน หรือกลีเซอรอล ถูกค้นพบครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1779 โดยนักเคมีชาวสวีเดน ชื่อ Carl W. Scheele จากการทดลองปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันในการสกัดน้ำมันมะกอก กลีเซอรีนหรือกลีเซอรอล มาจากคำว่า glykys แปลว่า “หวาน” โดยในระยะแรกมีการใช้ประโยชน์สำหรับเป็นส่วนผสมของกาว ทำให้กาวมีความเหนียวมากขึ้น รวมถึงส่วนผสมของสีย้อม และน้ำหมึก ต่อมาถูกประยุกต์ใช้สำหรับทำระเบิดไดนาไมด์ ในรูปของไตรกลีเซอรีน ผสมกับซิลิกา
ข้อแตกต่างของกลีเซอรีนกับกลีเซอรอล
กลีเซอรีน และกลีเซอรอล ถือเป็นสารเดียวกัน แต่ผู้ใช้ทั่วไปมักเรียก กลีเซอรีน (Glycerin) และกลีเซอรีนจะมีความบริสุทธิ์น้อยกว่า มักมีการปนเปื้อนสิ่งต่างๆ เช่น น้ำ สี เป็นต้น และกลีเซอรีนจะใช้เรียกสำหรับอ้างถึงสารละลายในทางการค้าของกลีเซอรอลที่มี น้ำเจือปน โดยมีกลีเซอรอลเป็นองค์ประกอบโดยส่วนใหญ่
กลีเซอรอลดิบจะมีความบริสุทธิ ์ประมาณ 70-80 เปอร์เซ็นต์ และความบริสุทธิ์มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ มักเป็นผลิตภัณฑ์ค้าขายในเชิงพาณิชย์ สำหรับชื่ออื่นนอกเหนือจาก Glycerol และ Glycerin ได้แก่ propane-1,2,3 -triol, 1,2,3 – propanetriol, 1,2,3 trihydroxypropane, glyceritol และglycyl alcohol
กลีเซอรีน/กลีเซอรอล ที่มีจำหน่ายในปัจจุบันมักมีสถานะเป็นของแข็งหรือของเหลว ซึ่งมีองค์ประกอบ และกระบวนการผลิตที่แตกต่างกัน โดยสถานะของเหลวเป็นสถานะปกติของกลีเซอรีน/กลีเซอรอล ส่วนกลีเซอรีนก้อนที่เป็นผลิตภัณฑ์จำหน่ายตามท้องตลาดสำหรับทำสบู่ก้อนใสทั่วไปจะมีส่วนผสมของเอทิลแอลกอฮอล์ และกลีเซอรีนเหลว ได้เป็นกลีเซอรีนก้อนที่เรียกกันทั่วไป
สำหรับกลีเซอรีนก้อนที่จำหน่ายในร้านค้าหรืออินเตอร์เน็ตมักใช้สำหรับการผลิตสบู่ในครัวเรือนทั่วไป รวมถึงการใช้ในภาคอุตสาหกรรม ส่วนกลีเซอรีนเหลวมักใช้ในภาคอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่
- สบู่ก้อนแข็ง เนื้อขาวนวลจะใช้สารตั้งต้นจากสบู่ ที่ได้จากกระบวนการสะปอนนิฟิเคชันดังสมการด้านล่าง
- สบู่ก้อนแข็ง เนื้อมีลักษณะใสจะใช้สารตั้งต้นเป็นกลีเซอรีนก้อนที่เป็นส่วนผสมของเอทิลแอลกอฮอล์กับกลีเซอรีนเหลว
- สบู่เหลว เป็นลักษณะสบู่ที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบมาก โดยใช้สารตั้งต้นจากสบู่ ที่ได้จากกระบวนการสะปอนนิฟิเคชัน โดยมีโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นสารทำปฏิกิริยาแทนโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ได้เนื้อสบู่แบบทั่วไป
คุณลักษณะเฉพาะของกลีเซอรอล/กลีเซอรีน
- มีสถานะปกติเป็นของเหลวข้น ไม่มีสี มีรสหวาน
- สูตรทางเคมี C3H8O3
- มวลอะตอม 92.09382 กรัม/โมล
- ความหนาแน่น 1.261 กรัม/ลบ.ซม.
- จุดหลอมเหลว 18 องศาเซลเซียส
- จุดเดือด 290 องศาเซลเซียส
- ความหนืด 1.2 pa-s
- แรงตึงผิว (20 องศาเซลเซียส) 63.4 มิลลินิวตัน/เมตร
- จุดวาบไฟ (ระบบเปิด) 177 องศาเซลเซียส
- จุดติดไฟ 204 องศาเซลเซียส
- ละลายได้ในน้ำ และแอลกอฮอล์ ไม่ละลายในเบนซีน อีเทอร์ และน้ำมัน
การผลิต
1. กลีเซอรีน/กลีเซอรอล สามารถผลิตได้จากกระบวนการไฮโดรไลซีสของน้ำมันจากพืช และไขมันจากสัตว์ โดยมีกรดหรือเบสเจือจางเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เกิดเป็นกลีเซอรอลกับกรดไขมัน
ไขมันพืช/สัตว์ + น้ำ = กลีเซอรีน/กลีเซอรอล + กรดไขมัน
2. กลีเซอรีน/กลีเซอรอล ยังสามารถผลิตได้จากกระบวนการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล ที่ถือเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการสะปอนนิฟิเคชัน ได้สบู่ แอลกอฮอล์ และน้ำผสมรวมอยู่ ซึ่งการผลิตไบโอดีเซลทุกๆ 9 กิโลกรัม จะเกิดกลีเซอรอลประมาณ 1 กิโลกรัม เสมอ
ไขมันพืช/สัตว์ + ด่าง = สบู่ + กลีเซอรีน/กลีเซอรอล + แอลกอฮอล์ + น้ำ
3. การผลิตที่ได้จากกระบวนการการทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน ได้เมทิลเอสเทอร์กับกลีเซอรีน
ไขมันพืช/สัตว์ + เมทิลอแลกอฮอล์ = กลีเซอรีน/กลีเซอรอล + เมทิลเอสเทอร์
ประโยชน์กลีเซอรีน/กลีเซอรอล/
1. ใช้เป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมต่างๆ เนื่องจากสามารถละลายได้ดีในน้ำ และแอลกอออล์
2. สำหรับอุตสาหกรรมเคมีใช้สำหรับเป็นสารตั้งต้นในการผลิตสารประกอบโพลิออล (polyol) สำหรับผลิตโฟม
3. กลีเซอรีน/กลีเซอรอล ที่มีความเข้มข้นมากกว่าร้อยละ 55 จะมีรสหวานสามารถใช้เป็นสารทดแทนน้ำตาลได้
4. กลีเซอรีน/กลีเซอรอล ที่เป็นสารจำพวก Hydroscopic มีคุณสมบัติดูดซับความชื้นในบรรยากาศได้ดี จึงนิยมนำมาใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความนุ่ม ความยืดหยุ่น และเป็นครีม เช่น อุตสาหกรรมพลาสติกเพื่อให้มีความอ่อนตัว และยืดหยุ่นได้ดี
5. ใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์เพื่อทำหน้าที่เป็น Thickening agent หรือ Bodying agent เพราะสามารถให้ความหนืดได้ดี
6. ใช้เป็นส่วนผสมสำหรับผลิตภัณฑ์เพื่อรักษาความชุ่มชื้น เช่น น้ำยาบ้วนปาก ยาสีฟัน สบู่ เป็นต้น
7. ใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ยา อาหาร และเครื่องดื่ม เช่น เป็นสารทดแทนน้ำตาล เป็นต้น
8. โมโนกลีเซอไรด์ใช้เป็นสารอิมัลชั่น และสารเพิ่มความคงตัว
9. ใช้ฉีดพ่นหรือเคลือบผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเพื่อรักษาความสด ป้องกันการระเหยของน้ำ เช่น ใช้พ่นใบยาสูบ
10. ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสำหรับเป็นสารอิมัลชันในผลิตภัณฑ์ครีม และเป็นสารที่ทำหน้ารักษาความชุ่มชื้นทั้งในส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ และแก่ผิว
ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยากลีเซอรีน/กลีเซอรอล
กลีซอลรีน/กลีเซอรอล สามารถเกิดปฏิกิริยากับสารอื่นได้ง่ายเหมือนกับแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะคาร์บอนอะตอมด้านนอกจะมีความว่องไวมากกว่าคาร์บอนอะตอมในด้าน ปฏิกิริยาที่เกิดออกซิไดซ์คาร์บอนอะตอมด้านนอกจะเกิดเป็นอัลดีไฮด์ ส่วนคาร์บอนอะตอมด้านในจะเกิดเป็นหมู่คาร์บอนิล ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยา ได้แก่
1. กรดอินทรีย์ และกรดอนินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน 1, 2 และ3 หมู่
2. โมโนกลีเซอไรด์ และไดกลีเซอไรด์ของกรดไขมัน
3. อะลิฟาติกเอสเทอร์ และอะโรมาติกเอสเทอร์ที่เกิดจากการทำปฏิกิริยากับสารอัลคิเลติ้ง และเอซิเลติ้ง
4. โพลีกลีเซอรีนที่เกิดจากปฏิกิริยา Intermolecular Elimaination ของน้ำ โดยมีเบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
5. โมโนกลีเซอไรด์ และไดกลีเซอไรด์จากปฏิกิริยาอัลคาไล
6. Clyclic 1,2 หรือ1,3 และ Acetal หรือ Ketal จากการทำปฏิกิริยากับอัลดีไฮด์หรือคีโตน
Keyword, คำสัญคัญ, ชื่อเรียกอื่นๆ
Glycerine, กลีเซอรีน
Glycerine USP, กลีเซอรีนเกรดยูเอสพี
Glycerine Pharmaceutical Grade, กลีเซอรีนเกรดยา
Pure Glycerine, กลีเซอรีนบริสุทธิ์
Reifined Glycerine, รีไฟน์กลีเซอรีน
Glycerine 99.5% Min, กลีเซอรีน 99.5 %
99.5% purified Glycerine, กลีเซอรีนบริสุทธิ์ 99.5%
Glycerine 99.5% USP, กลีเซอรีนเกรดUSP 99.5%
Liquid Glycerine, กลีเซอรีนเหลว
Glycerol, กลีเซอรอล
Glycerol USP, กลีเซอรอลเกรดยูเอสพี
Glycerol Pharma Grade, กลีเซอรอลเกรดยา
Pure Glycerol, กลีเซอรอลบริสุทธิ์
Reifined Glycerol, รีไฟน์กลีเซอรอล
Glycerol 99.5% Min, กลีเซอรอล 99.5%
99.5% purified Glycerol, กลีเซอรอลบริสุทธิ์ 99.5%
1,2,3-Propanetriol, โพรเพนไตรออล
Glyceritol, กลีเซอริตอล
Glycic Alcohol, ไกลซิสแอลกอฮอล์
1,2,3-Trihydroxypropane, ไตรไฮดรอกซีโพรเพน
CAS No. 56-81-5, C3H5(OH)3, Glycerin, propane-1,2,3-triol
ผลิตกลีเซอรีน
ขายกลีเซอรีน
จำหน่ายกลีเซอรีน
ส่งออกกลีเซอรีน
กลีเซอรีนทำสบู่
กลีเซอรอลทำสบู่
Glycerin
Glycerin USP
Glycerine manufacturer
Sale Glycerine
Distribute Glycerine
Export Glycerine
Liquid Glycerine
Vegetable Glycerine
Nutural Glycerine
ไทยแลนด์กลีเซอรีน
Thailand Glycerine
Thai Poly Chemicals Company Limited l Thailand Glycerine
Tel. 034496284, 034854888, 0824504888, 0800160016
บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด l ไทยแลนด์กลีเซอรีน
36/5 ม.9 ต.นาดี อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000
Website: www.thaipolychemicals.com
Email address: thaipolychemicals@hotmail.com
Email address: polychemicals888@gmail.com